กระบวนการตัดสินใจ

        การตัดสินใจ (Decision Making) กระบวนการตัดสินใจประกอบด้วย 4ข้นั ตอน คือ

1.การใช้ความคิดประกอบเหตุผล (Intelligence) เป็นข้นั ตอนที่รับรู้และตระหนักถึงปัญหาหรือโอกาสที่ เกดิข้ึน ทา การรวบรวมขอ้ มูลที่เกยี่ วขอ้งกบั ปัญหา น าขอ้มลู มาวเิคราะห์และตรวจสอบเพื่อแยกแยะและ ก าหนดรายละเอียดของปัญหาหรือโอกา

2.การออกแบบ (Design) เป็นข้นั ตอนของการพฒั นาและวเิคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้ รวมถึงการตรวจสอบและประเมินทางเลือกในการแก้ปัญหา ซึ่งอาจใช้ตัวแบบเพื่อสร้างทางเลือกต่าง ๆ ใน การแก้ปัญหา หรือออกแบบหนทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุ ด

3.การคัดเลือก (Choice) ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางเลือกที่เมาะสมกับปัญหาและสถานการณ์มากที่สุด โดย อาจใชเ้ครื่องมอืมาชว่ยวเิคราะห์ คา นวณคา่ใชจ้า่ยและผลตอบแทนของแตล่ ะแนวทางเพื่อให้เกดิความมนั่ ใจ ว ่าได้เลือกแนวทางที่ดีที่สุด

4.การน าไปใช้(Implementation) เป็นข้นั ตอนที่น าผลการตดัสินใจไปปฏิบัติและคิดตามผลของการปฏิบัติ เพื่อตรวจสอบว ่าการด าเนินงานมีประสิ ทธิภาพหรือมีข้อขัดข้องประการใด จะต้องแก้ไข้หรือปรับปรุงให้ สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์อย ่างไร ระดับของการตัดสินใจภายในองค์การ การตัดสินใจสามารถถูกจ าแนกให้สอดคล้องกับระดับของการจัดการออกเป็ น 3ระดับ คือ

1.การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (Strategic Decision Making) การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์เป็ นการตัดสินใจของ ผู้บริหารระดับสูง ที่ให้ความสนใจในอนาคต เช ่น การก าหนดวิสัยทัศน์ขององค์การ การก าหนดนโยบาย และการวางแผนระยะยาว เพื่อให้บรรลุวตัถุประสงค์ที่กา หนด โดยทวั่ ไปสิ่งแวดลอ้ มในการตดั สินใจของ ผูบ้ริหารระดบั สูงจะมกีารเปลี่ยนแปลงหรือมีความไมแ่ นน่ อน และไมส่ ามารถกา หนดข้นั ตอนการตดั สินใจ ที่ชัดเจนไว้ล่วงหน้าได้ 4

2.การตัดสินใจเชิงยุทธวิธี (Tactical Decision Making)การตัดสิ นใจเชิงยุทธวิธี เป็ นการตัดสิ นใจของ ผู้บริหารระดับกลาง ซึ่งจะเกี่ยวกับการจัดการเพื่อให้การด าเนิ นงานบรรลุตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ ตามที่ผู้บริหารระดับสูงก าหนดไว้ การตัดสินในระดับนี้ จะเกี่ยวข้องกับปั ญหาในลักษณะแบบกึ่งโครงสร้าง เช ่น กาจัดสรรทรัพยากรที่จ าเป็ นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ การจัดสรรงบประมาณ การ ก าหนดการผลิต การก าหนดยุทธวิธีทางการตลาด การวางแผนงบประมาณระยะกลาง และการท าโครงการ ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้

3.การตัดสินใจเชิงปฏิบัติการ (Operational Decision Making) การตัดสิ นใจเชิงปฏิบัติการเป็ นการตัดสิ นใจ ของผู้บริหารระดับปฏิบัติการหรือหัวหน้างานซึ่งเกี่ยวข้องกับงานประจ าหรือการปฏิบัติงานเฉพาะด้านต่างๆ ที่เกดิข้ึนเป็นกจิวตัรเพื่อให้เกดิความมนั่ ใจวา่สามารถปฏิบตัิงานเหลา่ น้ันไดต้ามแผนที่วางไวอ้ยา่ งส าเร็จและ มปีระสิทธิภาพ เชน่ การตดัสินใจในกระบวนการสั่งซื้อการควบคุมสินค้าคงคลัง การตัดสินใจในระดับน้ี เป็ นการตัดสินใจเกี่ยวข้องกับปั ญหาลักษณะแบบมีโครงสร้าง ซึ่ งหลักเกณฑ์และวิธี การต่าง ๆ สามารถ ก าหนดไว้ล่วงหน้าและทา การตดัสินใจไดโ้ดยอตัโนมตัิเนื่องจากจะเป็นปัญหาในเรื่องที่ซ้ า ๆ กนั ตัวอยา่ ง ของการตดัสินใจเชน่ การกา หนดเวลาสั่งสินค้าคงคลังจ านวนวตัถุดิบที่จะสั่งซื้อแตล่ ะคร้ัง การวางแผน เบิกจ่ายวัสดุ และการมอบหมายงานให้พนักงานเป็ นรายบุคคล ลักษณะของสารสนเทศและการตัดสินใจของผู้บริหารแต่ละระดับ